7/31/08
7/30/08
ผลของระดับกรดอะมิโนเมทไธโอนีนในอาหารโปรตีนต่ำต่อสมรรถภาพการผลิตไตรกลีเซอร์ไรด์และกรดไขมันอิสระในไก่ไข่
Effect of methionine levels in low protein diet on production performance, triglyceride and non-esterified fatty acid in laying hens
ผลของการเสริมกรดอะมิโนเมทไธโอนีนในอาหารต่อการให้ผลผลิต คุณภาพไข่และอวัยวะสืบพันธุ์ของไก่ไข่ช่วงอายุ 33-48 สัปดาห์ ที่เลี้ยงในโรงเรือนระบบปิด
Effects of Methionine Supplementation in Diet on Production Performance, Egg Quality and Reproductive Organs of Laying Hens (33-48 week) Raised in Closed House System
7/29/08
Nondestructive determination of harvesting maturity of mango for fresh consuming by near infrared spectroscopy
การหาระดับความแก่สำหรับเก็บเกี่ยวของผลมะม่วงเพื่อการบริโภคสดแบบไม่ทำลายตัวอย่างโดยใช้เนียร์อินฟาเรดสเปกโทรสโกปี
7/28/08
การพัฒนาดัชนีความแก่ของผลทุเรียนบนพื้นฐานทางสรีรวิทยา และเคมีกายภาพ
Developing Maturity Indices for Durian (Durio zibethinus Murray cv. Monthong) Fruits Based on Physiology and Physicochemistry
7/27/08
การหาลักษณะเฉพาะและการจำลองแบบเชิงโมเลกุลของสารประกอบเชิงซ้อนระหว่างตัวยากับไซโคลเด็กซ์ตริน
Characterization and Molecular Modeling of Drug-Cyclodextin Complexes
7/26/08
PRODUCTION OF ENZYME-RESISTANT STARCH FROM CASSAVA STARCH
การผลิตแป้งทนต่อการย่อยด้วยเอนไซม์จากแป้งมันสำปะหลัง
7/25/08
Combination of mid- and near-infrared spectroscopy for the determination of the quality properties of beers
การรวม mid- และ near-infrared spectroscopy สำหรับการตรวจวิเคราะห์คุณภาพของเบียร์
7/22/08
7/21/08
GEMOLOGICAL CHARACTERISTICS OF CORUNDUM FROM GIA NGHIA, SOUTHERN VIETNAM
ลักษณะเฉพาะทางอัญมณีวิทยาของพลอยคอรันดัมจากแหล่งเกียเงีย, ประเทศเวียดนามตอนใต้
วันที่ 4 กรกฎาคม 2550 “การควบคุมมาตรฐานคุณภาพของสินค้าทางการเกษตร และอุตสาหกรรม โดยวิธีที่ไม่ทำลายเพื่อการแข่งขันบนเวทีการค้าโลก”
“Quality Control of Agricultural Commodities and Industrial Product Standards by Non-destructive Evaluation Technique for Competitiveness in the World Trade”
7/16/08
August 3-8, 2008, Welcome to 14th International Diffuse Reflectance Conference
At Chambersburg, Pennsylvania, USA
The Council for Near Infrared Spectroscopy invites all interested parties to attend the 14th International Diffuse Reflectance Conference, August 3-8, 2008, at Wilson College in Chambersburg, Pennsylvania, USA. This biannual event attracts scientists, engineers, managers, and other technically oriented people from academia, government, and private industry, all having an interest in the subject of light-matter (visible, near-, and mid-IR) interaction in scattering and absorbing media.
Commonly known as the "Chambersburg" Meeting, this conference is in its 26th year of operation. If you are a first time comer, welcome! - you will find this conference to be informative, economical, and pleasant. If you are a returning participant, you already have a very good idea of the value of this meeting - welcome back!
Loads of information, highly respected peers of the near-infraredspectroscopy community, informal and relaxing environment - this is a conference to wholeheartedly consider in your summer plans.
Take advantage of the cheap value of the U.S. Dollar by coming to Chambersburg for a week during your holiday this summer [registration + room+ meals = $500 U.S. (before July 1, 2008)]!
The Council for Near Infrared Spectroscopy invites all interested parties to attend the 14th International Diffuse Reflectance Conference, August 3-8, 2008, at Wilson College in Chambersburg, Pennsylvania, USA. This biannual event attracts scientists, engineers, managers, and other technically oriented people from academia, government, and private industry, all having an interest in the subject of light-matter (visible, near-, and mid-IR) interaction in scattering and absorbing media.
Commonly known as the "Chambersburg" Meeting, this conference is in its 26th year of operation. If you are a first time comer, welcome! - you will find this conference to be informative, economical, and pleasant. If you are a returning participant, you already have a very good idea of the value of this meeting - welcome back!
Loads of information, highly respected peers of the near-infraredspectroscopy community, informal and relaxing environment - this is a conference to wholeheartedly consider in your summer plans.
Take advantage of the cheap value of the U.S. Dollar by coming to Chambersburg for a week during your holiday this summer [registration + room+ meals = $500 U.S. (before July 1, 2008)]!
7/15/08
การปรับปรุงคุณภาพกับลักษณะของพลอยแซปไฟร์จากแหล่งเวลลาวายา ประเทศศรีลังกา
Thermal enhancement and characteristics of sapphires from Wellawaya, Sri Lanka
05 july 1 : สรุปผลการจัดงานอบรมเชิงวิชาการ เรื่อง การควบคุมคุณภาพสินค้าด้วยเทคนิค Near Infrared Spectroscopy เพื่อการแข่งขัน ในเวทีการค้าโลก
(Conclusion of the Second Workshop on NIR Spectroscopy in Thailand)
7/14/08
การพัฒนาคุณภาพพลอยแซปไฟร์สีเขียวด้วยความร้อน จากแหล่งอัตตะปือประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
HEAT TREATMENT FOR SOME GREEN SAPPHIRE FROM ATTAPEU OF LAOS
สีเคลือบสะท้อนรังสีอาทิตย์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
Coloured Solar Reflective Coating for Energy Conservation
7/11/08
การปรับปรุงพันธุ์ไม้เศรษฐกิจ เพื่อการใช้ประโยชน์ได้อย่างยั่งยืน
Genetic Improvement of Economic Trees for Sustainable Use
การทวนสอบวิธีวิเคราะห์ปริมาณความชื้นในอาหารสัตว์น้ำ
METHOD VERIFICATION OF MOISTURE CONTENT IN AQUATIC FEEDS
การตรวจสอบปริมาณความชื้นของข้าวหอมมะลิด้วยเทคนิคสเปกโตรสโกปี
Near Infrared Spectroscopic Analysis of Moisture Content In Jasmine Rice
7/10/08
โครงการความร่วมมือวิจัยการเกษตรระหว่างกรมปศุสัตว์ กับ JIRCAS
(Collaborative Research between Department of Livestock Development (DLD) And
7/9/08
ระบบการประเมินคุณภาพข้าวเปลือกทีละเมล็ดด้วยเทคนิค NIRS
A system for quality evaluation of single rough-rice kernels using NIRS
7/8/08
26-28 มีนาคม 2550 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดอบรมวิชาการเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การควบคุมคุณภาพของสินค้าด้วยเทคนิค Near Infrared Spectroscopy
สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดอบรมวิชาการเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การควบคุมคุณภาพของสินค้าด้วยเทคนิค Near Infrared Spectroscopy เพื่อการแข่งขันในเวทีการค้าโลก The Third Workshop on NIR Spectroscopy in Thailand) ระหว่างวันที่ 26-28 มีนาคม 2550 ณ ห้องประชุมใหญ่ ชั้น 4 อาคารวิทยบริการ สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม และห้องประชุมชั้น 9 อาคารปฏิบัติวิจัยกลาง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กำหนดการรับสมัคร : ตั้งแต่บัดนี้ - 15 มีนาคม 2550
กำหนดการรับสมัคร : ตั้งแต่บัดนี้ - 15 มีนาคม 2550
16-22 กรกฎาคม 2550 นวัตกรรมระบบการจัดการขยะชุมชนของประเทศเยอรมนี
เมื่อวันที่ 16-22 กรกฎาคม 2550 ที่ผ่านมา สนช.ร่วมกับกลุ่มผู้ประกอบการอุตสาหกรรมการจัดการของเสียของไทย เดินทางไปเยี่ยมชมและศึกษานวัตกรรมระบบการจัดการขยะชุมชนของบริษัท FRITZ SCHAFER GMBH ประเทศเยอรมนี ซึ่งนอกจากจะมีหลักการบริหารการคัดแยกขยะที่ดีแล้ว ยังได้คิดค้นนวัตกรรมเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดการขยะชุมชนให้สูงขึ้นอีกด้วย ซึ่งขยะชุมชนเป็นปัญหาใหญ่ของประเทศในแถบทวีปยุโรปในขณะนี้ เพราะเนื่องจากอัตราการเติบโตของอุตสาหกรรมที่ก้าวหน้า ส่งผลให้ปริมาณขยะจากชุมชนเพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วย ประกอบกับเมื่อปลายปี 2006 ที่ผ่านมาประเทศต่าง ๆ ในสหภาพยุโรปใต้ออกกฎหมายที่ต่อต้านการฝังกลบขยะที่ไม่ได้รับการบำบัด (Untreated waste) ทำให้ทุกประเทศต้องหันมาให้ความสนใจในระบบการจัดการขยะชุมชนที่มีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการดำเนินการและถูกต้องตามกฎหมายของแต่ละประเทศที่ได้กำหนดไว้
การจัดการขยะชุมชนที่ด.....ต้องเริ่มจากระบบการคัดแยกขยะต้นทางที่ดี
ระบบการจัดการขยะชุมชนจะไม่มีประสิทธิภาพได้เลย หากไม่สามารถส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจได้อย่างถูกต้องในเรื่องระบบการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทาง ซึ่งบริษัท FRITZ SCHAFER GMBH ผู้ที่ได้รับหน้าที่จากหน่วยงานในท้องถิ่นของเมืองให้ดำเนินการบริหารจัดการระบบการเก็บขยะชุมชนเมือง Neunkirchen ได้ใช้ความพยายามในการสร้างระบบการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทางมาเป็นเวลาไม่ต่ำกว่า 10 ปี จนปัจจุบันสามารถจัดการขยะของชุมชนได้อย่างสมบูรณ์ โดยบริษัทฯ ได้แบ่งการคัดแยกขยะออกเป็น 4 ประเภทตามชนิดของถังขยะ คือ
1. ถังขยะสีน้ำตาล สำหรับขยะประเภทเศษอาหารและขยะอินทรีย์
2. ถังขยะสีน้ำเงิน สำหรับขยะประเภทเศษกระดาษ
3. ถังขยะสีเขียว สำหรับขยะประเภทขวดแก้ว
4. ถังขยะสีเหลือง สำหรับขยะประเภทบรรจุภัณฑ์พลาสติก
ซึ่งระบบคัดแยกนี้ช่วยให้สามารถคัดแยกขยะชุมชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อได้ถึงร้อยละ 70 โดยสามารถแยกขยะอินทรีย์ได้ร้อยละ 35 ขยะเศษกระดาษร้อยละ 20 ขยะขวดแก้วร้อยละ 10 ขยะพลาสติกร้อยละ 7 ซึ่งส่วนที่เหลือร้อยละ 30 เท่านั้นที่ต้องนำไปเผาในเตาเผาขยะ หากแต่การที่จะทำให้ชุมชนเข้าใจถึงแนวทางของการคัดแยกขยะแต่ละประเภท รวมถึงการศึกษาถึงวันเวลาที่เหมาะสมในการมาจัดเก็บขยะในชุมชนเพื่อให้เกิดความคุ้มค่าในการจัดการทั้งด้านค่าใช้จ่าย ด้านแรงงานและการขนส่ง บริษัทฯ ต้องมีการให้ความรู้และการอบรมชุมชนอย่างต่อเนื่องและเป็นรูปธรรม จนสามารถสร้างความตระหนักถึงความสำคัญของการคัดแยกขยะชุมชนได้เป็นอย่างดี จากการศึกษาดูงานพบว่า การจัดเก็บขยะจากชุมชนไม่มีความจำเป็นที่จะต้องมีการจัดเก็บทุกวัน หากแต่จากการศึกษาและทดลองอย่างต่อเนื่อง พบว่าการจัดเก็บขยะแต่ละชนิดสามารถมีความห่างของวันจัดเก็บได้สูงสุดไม่น้อยกว่า 14 วันซึ่งทำให้มีความคุ้มค่าด้านการจัดการขยะชุมชนอย่างสูงสุดขีดความสามารถตรงนี้ขึ้นอยู่กับการบริหารจัดการขยะที่เป็นระบบและการคิดค้นนวัตกรรมการออกแบบถังขยะให้สามารถเก็บขยะประเภทเศษอาหารและขยะอินทรีย์ในชุมชนให้ได้นานถึง 14 วัน โดยไม่มีกลิ่นเหม็นรบกวนชุมชน
นวัตกรรมระบบการคัดแยกขยะ.....หัวใจของการพัฒนามูลค่าเพิ่มจากขยะ
การนำระบบการคัดแยกขยะจากต้นทางมาใช้ในประเทศเยอรมนี ทำให้สามารถสร้างรายได้ใหม่ในการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ ซึ่งสามารถยกตัวอย่างให้เห็นได้อย่างเด่นชัดดังนี้คือ ขยะจากถังสีน้ำตาล ซึ่งเป็นขยะประเภทเศษอาหารและขยะอินทรีย์ จะนำมาผ่านกระบวนการคัดแยกเอาเศษพลาสติกและชิ้นส่วนของเศษวัสดุอื่น ๆ ออก โดยใช้เครื่องร่อนเพื่อคัดแยกประเภทและขนาดของวัสดุ (Trommel) ขยะอินทรีย์ที่คัดแยกได้ก็จะนำไปผ่านกระบวนการหมักเพื่อให้ทำเป็นดินหรือปุ๋ยต่อไป (ปุ๋ยขนาด 40ลิตร/ถุง ขายได้ถุงละ 115-150 บาท)
ส่วนขยะจากถังสีน้ำเงิน ซึ่งเป็นประเภทเศษกระดาษ จะถูกจัดการโดยระบบคัดแยกที่ใช้ Near Infrared Detector เพื่อคัดแยกกระดาษชนิดหมึกพิมพ์ออกจากกระดาษประเภทกล่อง (Cardboard) เพื่อขายต่อในราคาประมาณ 5,100 บาทต่อตัน สำหรับชนิดที่มีหมึกพิมพ์ซึ่งสามารถนำไปใช้ในการทำเยื่อกระดาษใหม่ และราคา 3,700 บาทต่อตันประเภทกล่อง
ขยะจากถังสีเขียว คือประเภทขวดแก้ว เนื่องจากมีการคัดแยกชนิดของขวดแก้วตามสีของขวดตั้งแต่ต้นทาง คือ ขวดใสและขวดสี ทำให้เมื่อขวดแก้วเข้ามายังสถานีคัดแยก ก็ดำเนินการบดให้แตกและผ่านกระบวนการล้างและหลอมเพื่อนำไปใช้ใหม่ได้ทันที
ส่วนขยะจากถังสีเหลือง ประเภทบรรจุภัณฑ์พลาสติก จะคัดแยกโดยใช้ระบบ Near Infrared Detector เช่นกัน แยกชนิดของพลาสติกออกเป็น Poly Ethylene (PE) และ Poly Ethylene Terephthalate(PET) และยังสามารถคัดแยกขยะกระป๋องและโฟมออกจากระบบได้ด้วยโดยราคาขายต่อสำหรับขวด PET คือ 4,600 บาทต่อตัน ขวด PE 3,700 บาทต่อตัน กระป๋อง 5,100 บาทต่อตัน และโฟมราคา 1,400 บาทต่อตัน
มาร่วมมือกันสร้างสรรค์นวัตกรรมการคัดแยกขยะต้นทาง.....เพื่อประโยชน์ของชุมชนที่ยั่งยืน
ความร่วมมือของชุมชนเป็นปัจจัยสูงสุดของระบบการจัดการขยะที่ดีของทุกประเทศ ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าไม่มีประเทศใดที่จะสามารถแก้ไขปัญหาขยะล้นเมืองได้ถ้าไม่มีระบบการจัดการคัดแยกขยะต้นทางที่ดี ดังนั้นหากเราสามารถปลูกฝังจิตสำนึกที่ดี และสร้างความเข้าใจที่ดีต่อระบบการคัดแยกขยะต้นทางอย่างถูกวิธี รวมถึงการออกกฎระเบียบและการสนับสนุนการพัฒนานวัตกรรมระบบการคัดแยกขยะที่ดีจากภาครัฐก็น่าจะสามารถส่งเสริมให้เกิดการพัฒนานวัตกรรมด้านจัดการขยะชุมชนของประเทศได้อย่างเป็นรูปธรรมต่อไปได้เช่นกัน
หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ปีที่ 27 ฉบับเดือนสิงหาคม-กันยายน 2550 หน้า 3
การจัดการขยะชุมชนที่ด.....ต้องเริ่มจากระบบการคัดแยกขยะต้นทางที่ดี
ระบบการจัดการขยะชุมชนจะไม่มีประสิทธิภาพได้เลย หากไม่สามารถส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจได้อย่างถูกต้องในเรื่องระบบการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทาง ซึ่งบริษัท FRITZ SCHAFER GMBH ผู้ที่ได้รับหน้าที่จากหน่วยงานในท้องถิ่นของเมืองให้ดำเนินการบริหารจัดการระบบการเก็บขยะชุมชนเมือง Neunkirchen ได้ใช้ความพยายามในการสร้างระบบการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทางมาเป็นเวลาไม่ต่ำกว่า 10 ปี จนปัจจุบันสามารถจัดการขยะของชุมชนได้อย่างสมบูรณ์ โดยบริษัทฯ ได้แบ่งการคัดแยกขยะออกเป็น 4 ประเภทตามชนิดของถังขยะ คือ
1. ถังขยะสีน้ำตาล สำหรับขยะประเภทเศษอาหารและขยะอินทรีย์
2. ถังขยะสีน้ำเงิน สำหรับขยะประเภทเศษกระดาษ
3. ถังขยะสีเขียว สำหรับขยะประเภทขวดแก้ว
4. ถังขยะสีเหลือง สำหรับขยะประเภทบรรจุภัณฑ์พลาสติก
ซึ่งระบบคัดแยกนี้ช่วยให้สามารถคัดแยกขยะชุมชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อได้ถึงร้อยละ 70 โดยสามารถแยกขยะอินทรีย์ได้ร้อยละ 35 ขยะเศษกระดาษร้อยละ 20 ขยะขวดแก้วร้อยละ 10 ขยะพลาสติกร้อยละ 7 ซึ่งส่วนที่เหลือร้อยละ 30 เท่านั้นที่ต้องนำไปเผาในเตาเผาขยะ หากแต่การที่จะทำให้ชุมชนเข้าใจถึงแนวทางของการคัดแยกขยะแต่ละประเภท รวมถึงการศึกษาถึงวันเวลาที่เหมาะสมในการมาจัดเก็บขยะในชุมชนเพื่อให้เกิดความคุ้มค่าในการจัดการทั้งด้านค่าใช้จ่าย ด้านแรงงานและการขนส่ง บริษัทฯ ต้องมีการให้ความรู้และการอบรมชุมชนอย่างต่อเนื่องและเป็นรูปธรรม จนสามารถสร้างความตระหนักถึงความสำคัญของการคัดแยกขยะชุมชนได้เป็นอย่างดี จากการศึกษาดูงานพบว่า การจัดเก็บขยะจากชุมชนไม่มีความจำเป็นที่จะต้องมีการจัดเก็บทุกวัน หากแต่จากการศึกษาและทดลองอย่างต่อเนื่อง พบว่าการจัดเก็บขยะแต่ละชนิดสามารถมีความห่างของวันจัดเก็บได้สูงสุดไม่น้อยกว่า 14 วันซึ่งทำให้มีความคุ้มค่าด้านการจัดการขยะชุมชนอย่างสูงสุดขีดความสามารถตรงนี้ขึ้นอยู่กับการบริหารจัดการขยะที่เป็นระบบและการคิดค้นนวัตกรรมการออกแบบถังขยะให้สามารถเก็บขยะประเภทเศษอาหารและขยะอินทรีย์ในชุมชนให้ได้นานถึง 14 วัน โดยไม่มีกลิ่นเหม็นรบกวนชุมชน
นวัตกรรมระบบการคัดแยกขยะ.....หัวใจของการพัฒนามูลค่าเพิ่มจากขยะ
การนำระบบการคัดแยกขยะจากต้นทางมาใช้ในประเทศเยอรมนี ทำให้สามารถสร้างรายได้ใหม่ในการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ ซึ่งสามารถยกตัวอย่างให้เห็นได้อย่างเด่นชัดดังนี้คือ ขยะจากถังสีน้ำตาล ซึ่งเป็นขยะประเภทเศษอาหารและขยะอินทรีย์ จะนำมาผ่านกระบวนการคัดแยกเอาเศษพลาสติกและชิ้นส่วนของเศษวัสดุอื่น ๆ ออก โดยใช้เครื่องร่อนเพื่อคัดแยกประเภทและขนาดของวัสดุ (Trommel) ขยะอินทรีย์ที่คัดแยกได้ก็จะนำไปผ่านกระบวนการหมักเพื่อให้ทำเป็นดินหรือปุ๋ยต่อไป (ปุ๋ยขนาด 40ลิตร/ถุง ขายได้ถุงละ 115-150 บาท)
ส่วนขยะจากถังสีน้ำเงิน ซึ่งเป็นประเภทเศษกระดาษ จะถูกจัดการโดยระบบคัดแยกที่ใช้ Near Infrared Detector เพื่อคัดแยกกระดาษชนิดหมึกพิมพ์ออกจากกระดาษประเภทกล่อง (Cardboard) เพื่อขายต่อในราคาประมาณ 5,100 บาทต่อตัน สำหรับชนิดที่มีหมึกพิมพ์ซึ่งสามารถนำไปใช้ในการทำเยื่อกระดาษใหม่ และราคา 3,700 บาทต่อตันประเภทกล่อง
ขยะจากถังสีเขียว คือประเภทขวดแก้ว เนื่องจากมีการคัดแยกชนิดของขวดแก้วตามสีของขวดตั้งแต่ต้นทาง คือ ขวดใสและขวดสี ทำให้เมื่อขวดแก้วเข้ามายังสถานีคัดแยก ก็ดำเนินการบดให้แตกและผ่านกระบวนการล้างและหลอมเพื่อนำไปใช้ใหม่ได้ทันที
ส่วนขยะจากถังสีเหลือง ประเภทบรรจุภัณฑ์พลาสติก จะคัดแยกโดยใช้ระบบ Near Infrared Detector เช่นกัน แยกชนิดของพลาสติกออกเป็น Poly Ethylene (PE) และ Poly Ethylene Terephthalate(PET) และยังสามารถคัดแยกขยะกระป๋องและโฟมออกจากระบบได้ด้วยโดยราคาขายต่อสำหรับขวด PET คือ 4,600 บาทต่อตัน ขวด PE 3,700 บาทต่อตัน กระป๋อง 5,100 บาทต่อตัน และโฟมราคา 1,400 บาทต่อตัน
มาร่วมมือกันสร้างสรรค์นวัตกรรมการคัดแยกขยะต้นทาง.....เพื่อประโยชน์ของชุมชนที่ยั่งยืน
ความร่วมมือของชุมชนเป็นปัจจัยสูงสุดของระบบการจัดการขยะที่ดีของทุกประเทศ ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าไม่มีประเทศใดที่จะสามารถแก้ไขปัญหาขยะล้นเมืองได้ถ้าไม่มีระบบการจัดการคัดแยกขยะต้นทางที่ดี ดังนั้นหากเราสามารถปลูกฝังจิตสำนึกที่ดี และสร้างความเข้าใจที่ดีต่อระบบการคัดแยกขยะต้นทางอย่างถูกวิธี รวมถึงการออกกฎระเบียบและการสนับสนุนการพัฒนานวัตกรรมระบบการคัดแยกขยะที่ดีจากภาครัฐก็น่าจะสามารถส่งเสริมให้เกิดการพัฒนานวัตกรรมด้านจัดการขยะชุมชนของประเทศได้อย่างเป็นรูปธรรมต่อไปได้เช่นกัน
หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ปีที่ 27 ฉบับเดือนสิงหาคม-กันยายน 2550 หน้า 3
7/3/08
การทำนายปริมาณอมิโลสในข้าวสารด้วยเทคนิคเนียร์อินฟราเรดรีแฟลกแทนซ์สเปกโทรสโกปี
Prediction of Amylose Content of Milled Rice by Near-Infrared Reflectance Spectroscopy
การหาปริมาณความชื้นอย่างแม่นยำสูงในข้าวสารพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 ด้วยเนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปี
High Accuracy Moisture Determination in Milled Rice cv. Khao Dawk Mali 105 by Near Infrared Spectroscopy
การตรวจสอบปริมาณน้ำตาลรีดิวซ์ของฝรั่งพันธุ์กลมสาลี่ด้วยเทคนิคสเปกโตรสโกปีย่านใกล้อินฟาเรด
Determination of Reducing Sugar In Guava (Psidium guajava L.) Using Near-Infrared Reflectance Spectroscopy
สิทธิบัตรเรื่องเต็มจากฐาน EPO Worldwide (http://gb.espacenet.com) ปี 2001-2005เกี่ยวกับ “Fruit Nondestructive”
1. BG101069 - 6/30/1998
METHOD AND PHOTOMETRIC CHAMBER FOR NONDESTRUCTIVE CLASSIFICATION AND/OR GRADING OF FRUIT AND VEGETABLES DEPENDING ON THEIR INTERNAL QUALITY REGARDLESS OF THE QUALITY OF THEIR SKINS
2. JP11173984 - 7/2/1999
METHOD AND APPARATUS FOR COMPUTING SUGAR CONTENT IN CENTRAL PART IN NONDESTRUCTIVE MEASUREMENT OF SUGAR CONTENT OF FRUIT OR VEGETABLE
3. JP1216265 - 8/30/1989
NONDESTRUCTIVE MEASUREMENT FOR QUALITY OF FRUIT AND VEGETABLE BY NEAR INFRA RED RAYS
4. JP2000155095 - 6/6/2000
NONDESTRUCTIVE TASTE CHARACTERISTIC MEASURING DEVICE FOR VEGETABLE AND FRUIT
5. JP2000329693 - 11/30/2000
NONDESTRUCTIVE MEASURING APPARATUS FOR INTERNAL QUALITY OF FRUIT OR VEGETABLE
6. JP2002048710 - 2/15/2002
NONDESTRUCTIVE MEASURING DEVICE FOR SUGAR CONTENT OF FRUIT
7. JP2003035669 - 2/7/2003
METHOD AND APPARATUS FOR NONDESTRUCTIVE JUDGMENT OF RIPE LEVEL OF FRUIT
8. JP4254744 - 9/10/1992
APPARATUS FOR NONDESTRUCTIVE INSPECTION OF TASTE OF CITRUS FRUIT
9. JP7128321 - 5/19/1995
NONDESTRUCTIVE FRUIT SELECTING METHOD
10. JP8101124 - 4/16/1996
NONDESTRUCTIVE MEASURING METHOD FOR RIPENESS OF FRUIT
11. JP8122250 - 5/17/1996
NONDESTRUCTIVE MEASURING METHOD FOR RIPENESS OR UNRIPENESS OF FRUIT AND VEGETABLE BY USING SUNLIGHT AND DEVICE FOR THE METHOD
12. JP9079978 - 3/28/1997
NONDESTRUCTIVE COMPONENT MEASURING APPARATUS FOR VEGETABLE AND FRUIT
13. KR2000014190 - 3/6/2000
NONDESTRUCTIVE TYPE FRUIT SOLIDITY MEASURING METHOD USING LASER
14. KR2003034385 - 5/9/2003
NONDESTRUCTIVE INTERNAL QUALITY SORTING APPARATUS FOR FRUIT
METHOD AND PHOTOMETRIC CHAMBER FOR NONDESTRUCTIVE CLASSIFICATION AND/OR GRADING OF FRUIT AND VEGETABLES DEPENDING ON THEIR INTERNAL QUALITY REGARDLESS OF THE QUALITY OF THEIR SKINS
2. JP11173984 - 7/2/1999
METHOD AND APPARATUS FOR COMPUTING SUGAR CONTENT IN CENTRAL PART IN NONDESTRUCTIVE MEASUREMENT OF SUGAR CONTENT OF FRUIT OR VEGETABLE
3. JP1216265 - 8/30/1989
NONDESTRUCTIVE MEASUREMENT FOR QUALITY OF FRUIT AND VEGETABLE BY NEAR INFRA RED RAYS
4. JP2000155095 - 6/6/2000
NONDESTRUCTIVE TASTE CHARACTERISTIC MEASURING DEVICE FOR VEGETABLE AND FRUIT
5. JP2000329693 - 11/30/2000
NONDESTRUCTIVE MEASURING APPARATUS FOR INTERNAL QUALITY OF FRUIT OR VEGETABLE
6. JP2002048710 - 2/15/2002
NONDESTRUCTIVE MEASURING DEVICE FOR SUGAR CONTENT OF FRUIT
7. JP2003035669 - 2/7/2003
METHOD AND APPARATUS FOR NONDESTRUCTIVE JUDGMENT OF RIPE LEVEL OF FRUIT
8. JP4254744 - 9/10/1992
APPARATUS FOR NONDESTRUCTIVE INSPECTION OF TASTE OF CITRUS FRUIT
9. JP7128321 - 5/19/1995
NONDESTRUCTIVE FRUIT SELECTING METHOD
10. JP8101124 - 4/16/1996
NONDESTRUCTIVE MEASURING METHOD FOR RIPENESS OF FRUIT
11. JP8122250 - 5/17/1996
NONDESTRUCTIVE MEASURING METHOD FOR RIPENESS OR UNRIPENESS OF FRUIT AND VEGETABLE BY USING SUNLIGHT AND DEVICE FOR THE METHOD
12. JP9079978 - 3/28/1997
NONDESTRUCTIVE COMPONENT MEASURING APPARATUS FOR VEGETABLE AND FRUIT
13. KR2000014190 - 3/6/2000
NONDESTRUCTIVE TYPE FRUIT SOLIDITY MEASURING METHOD USING LASER
14. KR2003034385 - 5/9/2003
NONDESTRUCTIVE INTERNAL QUALITY SORTING APPARATUS FOR FRUIT
การหาปริมาณโปรตีนในข้าวสารด้วยเนียร์อินฟาเรดสเปกโทรสโกปี
Determination of protein content in Thai rice by near infrared spectroscopy
การศึกษาเบื้องต้นในการตรวจสอบค่าน้ำตาลของชมพู่พันธุ์ต่าง ๆ ด้วยเทคนิค Near Infrared Reflectance Spectroscopy
Preliminary Results on the use of Near Infrared Reflectance Spectroscopy to measure Brix value in various varieties of Rose Apple
สมบัติทางแสงและการแผ่รังสีความร้อนของฟิล์มบางเงินเจือ
Optical Properties and Thermal Emissivity of Silver Alloy Thin Films
การศึกษาเบื้องต้นในการใช้เทคนิค Near infrared Spectroscopy ประเมินค่า Brix ในน้ำส้ม
Preliminary study on using Near infrared Spectroscopy for evaluating Brix value in Orange juice
ความสัมพันธ์ของปริมาณเนื้อเยื่อไขมันที่วัดโดยวิธีการชั่งน้ำหนักใต้น้ำ, การวัดความหนาผิวหนังพับ, เนียร์อินฟราเรดอินเตอร์แรคแทนซ์และไบโออิเลคตริคอล อิมพ
Relationship of body fat measured with hydrostatic weighing skinfold measurement, near-infrared interactance and bioelectrical impedance analysis methods
การศึกษาเบื้องต้นในการตรวจสอบคุณภาพภายในของชมพู่พันธุ์ต่าง ๆ ด้วยเทคนิค Near Infrared Reflectance Spectroscopy
(Preliminary Studies on the Use of Near Infrared Reflectance Spectroscopy to Measure the Internal Quality in Various Varieties of Rose Apples)
เทคนิคการตรวจสอบเนื้อแก้วในมังคุดแบบไม่ทำลายโดยวิธีการวัดการดูดกลืนแสงในย่านใกล้อินฟราเรด
(Non-Destructive technique for detection of mangosteen translucent flesh by Near Infrared Spectroscopy)
การประเมินคุณภาพของน้ำมันปาล์มโดยใช้เครื่องฟูเรียร์ทรานฟอร์มสเปกโทรสโกปีย่านใกล้อินฟราเรด
(Evaluation of Palm Oil Quality by Fourier-Transform Near-Infrared Spectroscopy)
การตรวจสอบคุณภาพภายในผลแก้วมังกรด้วยเทคนิคNear Infrared Spectroscopy
(Determination of Internal Quality of Dragon FruitUsing Near Infrared Spectroscopy)
การใช้ประโยชน์ของ NIRS กับอุตสาหกรรมอาหารสัตว์น้ำ: การใช้เทคนิค NearInfrared Spectroscopy(NIRS) หาค่าโปรตีนและค่าไขมันในตัวอย่างอาหารกุ้ง
(Application of Near Infrared Spectroscopy to predict crude protein and crude fat in shrimp feed)
การประเมินคุณภาพกรดแอสคอร์บิกน้ำตาลรีดิวซ์และปริมาณความชื้นของฝรั่งพันธุ์กลมสาลี่ด้วยเทคนิคสเปกโตรสโคปีย่านใกล้อินฟราเรด
(Quality Evaluation of Ascorbic acid, Reducing Sugar and Moisture Content in Guava by Near Infrared Spectroscopy)
การประเมินคุณภาพปริมาณความชื้นของข้าวหอมมะลิด้วยเทคนิค สเปกโตรสโคปีย่านใกล้อินฟราเรด
(Quality Evaluation of Moisture Content in Jasmine Rice by Near Infrared Spectroscopy)
การพัฒนาวิธีการตรวจวิเคราะห์ส่วนประกอบทางเคมีอย่างรวดเร็วเพื่อพัฒนาสายพันธุ์ไม้ยูคาลิปตัส คามาลดูเลนซิสของอุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษในประเทศไทย
(Development of the rapid analysis of chemical compositions for Eucalyptus camaldulensis plantation of pulp method and paper industry in Thailand)
การศึกษาเบื้องต้นในการใช้เทคนิค Near infrared spectroscopy ในการวัดค่า Brix ในน้ำของส้ม
(Preliminary study on using Near infrared spectroscopy for evaluating Brix value in Orange juice)
Subscribe to:
Posts (Atom)